การ คิด ภาษี บุคคลธรรมดา

ต่อเดือน มีค่าลดหย่อนเพิ่มแค่เรื่องของประกันสังคม ซึ่งเมื่อปี 64 รัฐมีการปรับลดเงินที่หักเข้าประกันสังคม ของปี 64 สูงสุดก็จะเป็นแค่ 5, 100 บ. ลองดูกันว่า จะเสียภาษีเท่าไหร่ เริ่มจาก เงินได้ทั้งปี 40, 000 บ. X 12 เดือน = 480, 000 บ. ต่อปี เป็นรายได้ 40(1) กฎหมายกำหนดว่า รายได้ 40(1) สามารถหักค่าใช้จ่ายได้ 50% ของรายได้ แต่ไม่เกิน 100, 000 บ. ดังนั้นจะหักค่าใช้จ่ายได้สูงสุด ตรงนี้ แค่ 100, 000 บ. ค่าลดหย่อน ค่าลดหย่อนส่วนตัว 60, 000 บ. ประกันสังคม 5, 100 บ. เงินได้สุทธิที่ต้องนำไปคำนวณอัตราภาษี คือ 480, 000 – 100, 000 – 60, 000 – 5, 100 บ. = 314, 900 บ. มาดูกันที่อัตราภาษีแบบขั้นบันไดกัน ที่ต้องเริ่มกันที่ตั้งแต่ก้าวแรก หรือขั้นแรก แล้วบวกขึ้นไปเรื่อยๆ เริ่มกันที่ขั้นที่ 1 จากตาราง เงินได้ในขั้นแรก 150, 000 บ. แรก ไม่เสียภาษี ดังนั้น 150, 000 บ. แรกของเรา ขั้นนี้ ภาษีที่ต้องเสีย คือ 0 มาขั้นที่ 2 เงินได้ที่มากกว่า 150, 000 จนถึง 300, 000 บ. เสีย 5% ซึ่งช่วงนี้ ก็คือเงินได้ของเราในช่วงนี้ทั้งหมด คือ 150, 000 บ. ก็ต้องถูกนำมาคิดภาษี ในอัรา 5% ขั้นที่ 2 นี้ เราจะเสียภาษี = 150, 000 X 5% = 7, 500 บ.

  1. นิติบุคคล
  2. หมายถึง
  3. การคิดภาษีแบบเหมา 0.5% ใช้เมื่อไหร่?? – หมอยุ่งอยากมีเวลา
  4. Excel
  5. การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี (ภงด.94) « Patr's Web :: มีไว้เขียน Blog

นิติบุคคล

นวัตกรรมสื่อการสอนเกี่ยวกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา - YouTube

หมายถึง

แบบฝึกทักษะ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คำชี้แจง ให้นักเรียนแสดงวิธีทำตามขั้นตอนของการแก้โจทย์ปัญหา ข้อ 1. นายต่อมีเงินได้ เงินเดือนๆละ 12, 000 บาท นายก่อจะหักค่าใช้จ่ายก่อนนำไปชำระภาษีเท่าใด เงินเดือนๆละ 12, 000 บาท 12 เดือน............................................................ 144, 000 บาท หัก ค่าใช้จ่ายเป็นการเหมา ร้อยละ 40 แต่ไม่เกิน 60, 000 บาท ………………57, 600 บาท คงเหลือเงินได้...................................................................... 86, 400 บาท ข้อ 2. นายก่อมีเงินได้ เงินเดือนๆละ 40, 000 บาท นายก่อจะหักค่าใช้จ่ายก่อนนำไปชำระภาษีเท่าใด เงินเดือนๆละ 40, 000 บาท 12 เดือน............................................................ 480, 000 บาท หัก ค่าใช้จ่ายเป็นการเหมา ร้อยละ 40 แต่ไม่เกิน 60, 000 บาท ……………… 60, 000 บาท คงเหลือเงินได้..................................................................... 420, 000 บาท ข้อ 3. นางช่อมีเงินได้ จากการขายลิขสิทธ์บทเพลง 400, 000 บาท นางช่อจะหักค่าใช้จ่ายก่อนนำไปชำระภาษีเท่าใด เงินได้ค่าลิขสิทธ์.......................................................................................... 400, 000 บาท คงเหลือเงินได้..................................................................... 340, 000 บาท ข้อ 4.

การคิดภาษีแบบเหมา 0.5% ใช้เมื่อไหร่?? – หมอยุ่งอยากมีเวลา

  • การ คิด ภาษี บุคคลธรรมดา หมายถึง
  • การ คิด ภาษี บุคคลธรรมดา 2564
  • การ คิด ภาษี บุคคลธรรมดา doc
  • Xem sex เฟิร์ส อนุวัฒน์xxx.html Xvideos - PhimSex99.Org

Excel

005 = 1, 500 บาท สรุป นางสาวจิ๊ฟฟี่ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปีจำนวน 1, 250 บาท (ดูปากจิ๊ฟฟี่นะคะ หนึ่งพันสองร้อยห้าสิบบาทถ้วน) อ้าว งงกันหละสิ …. ก็วิธีที่ 2 เสียภาษีมากกว่า ไหงเสียภาษีวิธีที่ 1 … แท่น แทน แท๊น …ก็วิธีที่ 2 ยอดภาษีน้อยกว่า 5, 000 บาท นางสาวจิ๊ฟฟี่เลยต้องไปเสียตามวิธีที่ 1 แทนค๊า สามารถอ่านวิธีกรอกแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี(ภงด. 94) ปีภาษี 2557 แบบละเอียดยิบๆ ได้ที่นี่ ขอบพระคุณที่ติดตามมาถึงตรงนี้กันนะคะ หวังว่าบทความนี้คงจะช่วย ให้เข้าใจการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปีมากขึ้น พบกันใหม่บทความหน้าค๊า (^_^)

การคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี (ภงด.94) « Patr's Web :: มีไว้เขียน Blog

เงินได้ทั้ง 8 ประเภท และการหักค่าใช้จ่าย เงินพึงประเมินทั้ง 8 ประเภท (ตามมาตรา 40 (1) – (8) มีการหักค่าใช้จ่ายในอัตราแตกต่างกัน และมี 2 วิธีให้เลือกใช้ 1. หักค่าใช้จ่ายแบบเหมา 2. หักค่าใช้จ่ายตามจริง เงินพึงประเมินทั้ง 8 ประเภท เงินได้ประเภทที่ 1: เงินได้จากการจ้างแรงงาน เงินได้ประเภทที่ 2: เงินได้จากหน้าที่หรือตำแหน่งงานที่ทำ หรือจากการรับทำงานให้ เช่น ค่านายหน้า เบี้ยประชุม โบนัส หักค่าใช้จ่ายเหมา 50% แต่ไม่เกิน 100, 000 บาท หากมีเงินได้ประเภท 1 และ 2 ให้นำมารวมกันแล้วหักค่าใช้จ่ายเหมา 50% แต่เมื่อรวมแล้วไม่เกิน 100, 000 บาท ผู้ที่มีเงินได้เฉพาะประเภทที่ 1 ยื่น ภ. ด. ง.

นางจ่อมีเงินได้ จากการให้เช่าอาคารพาณิชย์ 500, 000 บาท นางจ่อจะหักค่าใช้จ่ายก่อนนำไปชำระภาษีเท่าใด เงินได้จากการให้เช่าอาคารพาณิชย์.............................................................. 500, 000 บาท 30...................................... …………. … 15 0, 000 บาท คงเหลือเงินได้..................................................................... 350, 000 บาท ข้อ 5. นายแดงเป็นข้าราชการ มีเงินได้สุทธิ 120, 000 บาท ยอดชายจะต้องชำระภาษีเงินได้เท่าไร ตอบ นายแดงไม่ต้องชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เพราะ เขามีเงินได้สุทธิหลังจากหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนไม่ถึง 150, 000 บาท ตามตารางแสดงอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เงินได้สุทธิไม่ถึง 150, 000 บาท ได้รับการยกเว้นภาษี ข้อ 6. นายดำเป็นข้าราชการบำนาญ มีเงินได้สุทธิ 250, 000 บาท ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ 7, 000 บาท อยากทราบว่าเมื่อครบปีภาษี ธงชัยจะต้องชำระภาษีเพิ่มเติมหรือรับคืนเงินภาษีที่ชำระไว้เกินเท่าไร วิธีทำ จากตารางสำหรับคำนวณภาษีเงินได้สุทธิ 150, 000 บาทแรกไม่ต้องเสียภาษี เหลือเงินได้สุทธิที่ต้องเสียภาษี 250, 000 – 150, 000 = 100, 000 บาท เงินได้สุทธิ 150, 000 บาทแรกไม่ต้องเสียภาษี = 0 บาท เงินได้สุทธิ 100, 000 บาท ต้องเสียภาษี 5% = 100, 000 × = 5, 000 บาท ดังนั้น ต้องเสียภาษีเงินได้เป็นเงิน = 5, 000 บาท หักภาษี ณ ที่จ่ายที่ชำระไว้แล้ว = 7, 000 บาท ดังนั้น จะได้รับคืนภาษีที่ชำระไว้เกิน = 2, 000 บาท ข้อ 7.

นั่นเอง เพราะ 1, 000, 000 บ. X 0. 005 = 5, 000 บ. (ถ้าคิดภาษีแบบเหมานี้ง่ายๆ ก็คือ เสียล้านละ 5, 000 บ. นะ) และคิดออกมาแล้วแบบหมาเสียมากกว่า แบบขั้นบันได ถึงจะใช้แบบเหมา ซึ่งโดยทั่วไปภาษีแบบขั้นบันไดจะเสียภาษีสูงกว่า จึงมักใช้แบบขั้นบันได การคิดแบบเหมาแล้วเสียมากกว่าจะเป็นกรณีที่มีรายได้ลักษณะอื่นที่ไม่ใช่เงินเดือน และหักค่าใช้จ่ายได้มาก และมีค่าลดหย่อนมาก สรุปก็คือ ให้คิดภาษีแบบขั้นบันไดที่เล่าไปก่อนหน้าก่อน และถ้ามีรายได้อื่นที่ไม่ใช่ 40(1) เกิน 1, 000, 000 บ. ลองมาคิดแบบเหมาดู และต้องเสียภาษีตามที่คิดออกมาแล้วมากกว่านะ ถ้าแบบบขั้นบันได เสียมากกว่า ก็คือใช้แบบขั้นบันได ———————————— มาเรียนรู้การเลือกหุ้นด้วยตัวเอง แบบเข้าใจง่าย ใช้ได้จริง คอร์สที่จัดทำสำหรับมือใหม่ลงทุนหุ้น ที่จะได้เรียนรู้ตั้งแต่การเลือกหุ้น การอ่านงบการเงิน รวมไปถึงการประเมินมูลค่าหุ้น เรียนจบ สามารถนำไปปรับใช้เพื่อเลือกหุ้นลงทุนได้ด้วยตนเอง เรียนที่ไหน เมื่อไหร่ ทวนกี่ครั้งก็ได้ ลงทะเบียนเรียนกันได้เลย

Main menu มาแล้ววววค๊า สำหรับวิธีการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี มีวิธีการคิดคำนวณง่ายๆ 2 วิธี ดังนี้ค่ะ วิธีที่ 1 คำนวณภาษีจากเงินได้สุทธิ โดยให้ผู้เสียภาษีนำเงินได้พึงประเมินมาตรา 40(5) – (8) ที่ได้รับตั้งแต่เดือนม. ค ถึง มิ. ย. ในปีภาษีนั้น มาหักออกด้วยค่าใช้จ่าย* และค่าลดหย่อน** เหลือเท่าใดถือเป็นเงินได้สุทธิ แล้วให้คำนวณตามอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยเงินได้สุทธิ 150, 000 บาทแรกได้รับยกเว้นตามพ. ร. ฎ. (ฉบับที่470) พ. ศ. 2551 โปรโมชั่นลดแลกแจกแถม!! ยกเว้นเงินได้สำหรับ คนพิการที่มีอายุไม่เกิน 65 ปีบริบูรณ์ รวมไปถึงสว.